หลักการใช้ สระ อะ
1. คำไทยแท้ออกเสียง อะ
เต็มคำจะประวิสรรชนีย์ เช่น
กะ
|
จะ
|
ปะ
|
ละ
|
กระโดด
|
กะทิ
|
ชะลอม
|
ทะนาน
|
มะระ
|
กระทะ
|
เกะกะ
|
สะเปะสะปะ
|
2. คำประสมสองพยางค์ ที่ต่อมาพยางค์หน้าคำหน้ากร่อนเป็นเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น
สาวใภ้
|
เป็น
|
สะใภ้
|
หมากปราง
|
เป็น
|
มะปราง
|
ตาวัน
|
เป็น
|
ตะวัน
|
ตาปู
|
เป็น
|
ตะปู
|
ฉันนั้น
|
เป็น
|
ฉะนั้น
|
สายดึง
|
เป็น
|
สะดึง
|
เฌอเอม
|
เป็น
|
ชะเอม
|
3. พยางค์เสียง สะ ที่แผลเป็น
ตะ หรือ กระ
ได้ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
สะเทือน
|
เป็น
|
กระเทือน
|
สะพาน
|
เป็น
|
ตะพาน
|
สะพาย
|
เป็น
|
ตะพาย
|
สะท้อน
|
เป็น
|
กระท้อน
|
4. คำที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต
ถ้าพยางค์สุดท้ายออกเสียง อะ ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
เถระ อวัยวะ คณะ ศิลปะ ลักษณะ
ปิยะ
สาธารณะ พละ เคหะ
5. คำแผลงคำที่แผลงโดยการแทรกตัว “ร” ถ้าคำเดิมประวิสรรชนีย์ ต้องคงรูปประวิสรรชนีย์ไว้ เช่น
จะเข้
|
เป็น
|
จระเข้
|
ทะนง
|
เป็น
|
ทระนง
|
ถ้าคำเดิมไม่ประวิสรรชนีย์
ก็ไม่ต้องประ เช่น
จมูก
|
เป็น
|
จรมูก
|
สล้าง
|
เป็น
|
สรล้าง
|
ตลบ
|
เป็น
|
ตรลบ
|
ยกเว้นแทรกตัว “ร” หลัง ก
แม้คำเดิมไม่ได้ประวิสรรชนีย์
ก็ต้องประวิสรรชนีย์ด้วย เช่น
กลับกลอก
|
เป็น
|
กระลับกระลอก
|
กษาปณ์
|
เป็น
|
กระษาปณ์
|
กษัย
|
เป็น
|
กระษัย
|
กนก
|
เป็น
|
กระนก
(อ่านกระหนก)
|
๖. คำที่มาจากภาษาต่างๆ
จากประเทศทางตะวันออก เช่น ชวา จีน
ญี่ปุ่น ฯลฯ
พยางค์ที่ออกเสียง อะ ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
สะตาหมัน
|
มะงุมมะงาหรา
|
ระตู
|
(ภาษาชวา)
|
ตะหลิว
|
ตะเกียบ
|
พะโล้
|
(ภาษาจีน)
|
ซากุระ
|
ยากิโซบะ
|
(ภาษาญี่ปุ่น)
|
|
กระดังงา
|
มะเร็ง
|
อุบะ
|
(ภาษามลายู)
|
มังระ
|
อังวะ
|
(ภาษาพม่า)
|
|
กระบะ
|
กระดาษ
|
(ภาษาอาหรับ)
|
|
ตะกั่ว
|
กำมะหยี่
|
กะไหล่
|
(ภาษาทมิฬ)
|
๗. คำที่มาจากภาษาต่าง ๆ
จากประเทศทางตะวันตก ถ้าออกเสียง อะ เต็มคำ
ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
อะตอม
|
(ภาษาอังกฤษ)
|
||
กะจับปิ้ง
|
กะละแม
|
กะละมัง
|
(ภาษาโปรตุเกส)
|
กะปิตัน
|
(ภาษาฝรั่งเศส)
|
8. คำอัพภาสในบทร้อยกรองที่กร่อนมาจากคำซ้ำ และพยางค์แรกออกเสียง อะ จะต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
คึกคึก
|
เป็น
|
คะคึก
|
วับวับ
|
เป็น
|
วะวับ
|
รื่นรื่น
|
เป็น
|
ระรื่น
|
แย้มแย้ม
|
เป็น
|
ยะแย้ม
|
9. คำที่ไม่ทราบแน่ชัดว่ามาจากภาษาใด และออกเสียง
อะ อย่างชัดเจนต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
พะนอ คะนึง พะงา พะเนียง กะหรี่ สะระแหน่
หลักการไม่ใช้ สระ อะ
1. คำที่ออกเสียง อะ ไม่เต็มเสียง เช่น
สบาย
|
พม่า
|
สักหลาด
|
ชนิด
|
สบู่
|
ชนวน
|
ทวาย
|
ทนาย
|
อร่อย
|
ขจัด
|
ฉบับ
|
ขโมย
|
2.
คำที่เป็นอักษรนำไม่ต้องประวิสรรชนีย์
เช่น
กนก
|
ขนม
|
ขนาด
|
ขนุน
|
จรวด
|
ฉลาด
|
ผวา
|
ถลา
|
สลัด
|
สนาม
|
สมาน
|
สมุด
|
๓. คำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
และ ออกเสียง "อะ"
ที่พยางค์หน้า ไม่ต้อง ประวิสรรชนีย์ เช่น
กรณี
|
กวี
|
คณิตศาสตร์
|
คหบดี
|
คมนาคม
|
นวรัตน์
|
สรณคมณ์
|
อรหันต์
|
สมาคม
|
4. คำสมาส ซึ่งมีเสียง อะ ที่ท้ายคำหน้า ไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
พลศึกษา
|
ชีวประวัติ
|
อิสรภาพ
|
คณบดี
|
สาธารณสุข
|
มนุษยสัมพันธ์
|
จริยศึกษา
|
กรรมกร
|
วัฒนธรรม
|
5. คำไทยแท้ซึ่งย่อมาจากคำอื่นๆ
ไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น
ทนาย
|
มาจากคำว่า
|
ท่านนาย
แทนนาย
|
ธ
|
มาจากคำว่า
|
ท่าน
เธอ ไท้
|
ณ
|
มาจากคำว่า
|
ใน
ณ ที่นี้
|
พนักงาน
|
มาจากคำว่า
|
ผู้นักงาน
พ่อนักงาน
|
พนาย
|
มาจากคำว่า
|
พ่อนาย
|
ฯพณฯ
|
มาจากคำว่า
|
พ่อเหนือหัวเจ้าท่าน
|
6. ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ที่พยางค์หน้าออกเสียง อะ ไม่เต็มเสียงไม่ต้องประวิสรรชนีย์
เช่น
กบาล
|
ถนน
|
พนม
|
(ภาษาเขมร)
|
สังขยา
|
สลัด
|
สลาตัน
|
(ภาษามลายู)
|
สักหลาด
|
องุ่น
|
กลาโหม
|
(ภาษาเปอร์เซีย)
|
อินทผลัม
|
พนัส
|
มนัส
|
(ภาษาทมิฬ)
|
สบู่
|
(ภาษาเปอร์ตุเกส)
|
||
สลุต
|
สตู
|
แสตมป์
|
(ภาษาอังกฤษ)
|
อิสลาม
|
สุลต่านมรสุม
|
(ภาษาอาหรับ)
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น